Pages

เรารักและศรัทธา Luang Phor SODH Wat Paknam The Venerable great master Phramongkolthepmuni and founder of Dhammakaya อาจารย์ มิตร จอย Myoma Myint Kywe





เรารักและศรัทธา Luang Phor SODH Wat Paknam

The Venerable great master Phramongkolthepmuni and founder of Dhammakaya

พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร )


 Researched by- อาจารย์  มิตร จอย
(Myoma Myint Kywe)

He is the very famous Buddhist monk in Thailand.  Many people respect him. He was one of the most famous Theravada Buddhist monks in the world. He was one of the most famous meditation teachers in Thailand and World.


In the Theravada-tradition two types of meditation Buddhist practices are being followed, namely สมถะ samatha (Pāli; Sanskrit: śamatha; "calm") and วิปัสสนา
vipassana (insight).  Samatha is a primary meditation aimed at calming the mind.



Vipassana can be cultivated by the practice that includes contemplation, introspection and observation of bodily sensations, analytic meditation and observations on life experiences like death and decomposition. The practices may differ in the modern Buddhist traditions and non-sectarian groups according to the founder but the main objective is to develop insight.


https://books.google.com.au/books?id=6XFW45RDK6wC&pg=PA105&lpg=PA105&dq=Luang+Pu+SODH+Wat+Paknam&source=bl&ots=Cx2QmD0rhd&sig=5GHa-wXhANkGCsEGSXduh3b1p38&hl=en&sa=X&ei=EdCQVMO7CsrguQTD44HQBw&ved=0CDcQ6AEwBzgU#v=onepage&q=Luang%20Pu%20SODH%20Wat%20Paknam&f=false

อานาปานสติ Anapasati in Buddhism



Mindfulness of In-&-Out Breathing is described in detail in Anapanasati Sutta as following:



“Breathing in long, he discerns, 'I am breathing in long'; or breathing out long, he discerns, 'I am breathing out long.' Or breathing in short, he discerns, 'I am breathing in short'; or breathing out short, he discerns, 'I am breathing out short.' He trains himself, 'I will breathe in sensitive to the entire body.' He trains himself, 'I will breathe out sensitive to the entire body.' He trains himself, 'I will breathe in calming bodily fabrication.' He trains himself, 'I will breathe out calming bodily fabrication.”



If it is pursued and well developed, it is said to bring great benefit according to the Anapanasati Sutta.

“This is how mindfulness of in-&-out breathing is developed & pursued so as to be of great fruit, of great benefit”



As to the training, Anapanasati sutta describes as following:

“On whatever occasion the monk remains focused on the body in & of itself — ardent, alert, & mindful — putting aside greed & distress with reference to the world, on that occasion his mindfulness is steady & without lapse. When his mindfulness is steady & without lapse, then mindfulness as a factor for awakening becomes aroused. He develops it, and for him it goes to the culmination of its development.”
 
Given this short biography of Phra Mongkhonthepmuni you would acknowledge about his Samadhi (สมาธิ) meditation method.

I would like to share his NOBLE effort.
The Dhammakaya movement is founded in 1916 by

Phra  Mongkhonthepmuni  พระมงคลเทพมุนี ( สด จนฺทสโร )

(1885-1959), the late abbot of Wat Paknam Bhasicharoen, Thonburi. The movement is primarily represented today by its non-profit foundation, the Dhammakaya Foundation, and the Wat Phra Dhammakaya temple in 
 
23/2 Moo 7, Khlong 3, Khlong Luang District, Pathum Thani 12120, Thailand. 
Tel. + (66) 2-831-1000, Ext: 2532
Mobile phone: (66) 9-3-317-6278
Fax. + (66) 2-831-1292
Email: info@dhammakaya.net
www.dmc.tv/en
www.dhammakaya.net
www.mdwmeditation.org
www.ordinationthai.org
www.dou.us/en

Map in English (http://www.mdwmeditation.org/images/content/Map-WAT-2-Large.jpg)
Map for Thai Taxi Driver (http://www.mdwmeditation.org/images/content/Map-WAT-2-Large.jpg)


The Venerable Phra Mongkhonthepmuni (Sodh Candasaro; 10 October 1884 – 3 February 1959), the late the Venerable abbot of Wat Paknam Bhasicharoen, was the founder of the Thai Dhammakaya meditation school in 1914.

The Venerable Phra Mongkhonthepmuni was born as Sodh Mikaewnoi on 10 October 1884 to the family of a rice merchant in Amphoe Song Phi Nong, Suphanburi, a province 100 km to the west of Bangkok. At the beginning of July 1906, aged twenty-two, he was ordained at Wat Songpinong in his hometown and was given the Pāli name Candasaro.

He started to study meditation on the day following his ordination, and after his first rainy season, travelled far and wide in Thailand in order to study with all the renowned masters of the time.

He began to practice meditation by himself using the วิสุทธิมรรค
Visuddhimagga. On the full-moon day of September 1917, he sat himself down in the main shrine hall of Wat Bangkuvieng, resolving not to waver in his practice of sitting meditation, whatever might seek to disturb his single-mindedness. It is claimed that while meditating far into the night, he allowed his mind to go deeper and deeper through the pathway at centre of the sphere, until he discovered the dhammakāya, the most refined of the inner bodies, which is eternal and free from defilement.

The Venerable Phra Mongkhonthepmuni devoted the rest of his life to teaching and furthering the depth of knowledge of this meditation technique. It is this technique which has come to be known as 'Dhammakaya meditation' .
The Venerable Phra Mongkhonthepmuni was taken ill in 1956.


He brought the work of the meditation workshop to an end by dismissing all of the meditators except four or five of the most devoted famous nuns including จันทร์ ขนนกยูง Chandra Khonnokyoong and Thongsuk Samdaengpan. It was these nuns who were heirs to the oral tradition of Dhammakaya when Phramongkolthepmuni died in 1959, aged seventy-five.

Although, the Great Master – the Most Venerable Phra Mongkolthepmuni (Sodh Candasaro) has been deceased for more than 50 years, his teachings and legacy continue to dwell in the hearts and minds of all his disciples.



Dhammakaya Techniques

Dhammakāya meditation is an approach to Buddhist meditation (especially samatha and conjunction with vipassana) taught by Phramongkolthepmuni in the early 20th century. As with many forms of Buddhist meditation Dhammakaya meditation has both samatha and as used in conjunction with insight vipassana stages. The goal of Dhammakaya meditation at the samatha level is to overcome the นิวรณ์ Five hindrances


နိဝရဏတရား นิวรณ์ Five hindrances   ဟူသည္ နိဗၺာန္ကို ပိတ္ပင္ဖံုးကြယ္၍ ကန့္သတ္တတ္ေသာတရားမ်ားကို ဆိုလိုသည္။


1.        ကာမစၦနၵနိဝရဏ = လိုခ်င္တပ္မက္ျခင္းျဖင့္ နိဗၺာန္ကို ဖံုးကြယ္၍ ကန့္ကြက္ျခင္း။

2.        ဗ်ာပါဒနိဝရဏ = ေဒါသအမ်က္ထြက္ျခင္းျဖင့္ နိဗၺာန္ကို ဖံုးကြယ္၍ ကန့္ကြက္ျခင္း။

3.        ထိနမိဒၶနိဝရဏ = ငိုက္ျမည္းျခင္းျဖင့္ နိဗၺာန္ကို ဖံုးကြယ္၍ ကန့္ကြက္ျခင္း။

4.        ဥဒၶစၥကုကၠုစၥနိဝရဏ = စိတ္ပ်ံ့လြင့္ျခင္း၊ ေနာင္တတဖန္ပူပန္ျခင္းျဖင့္ နိဗၺာန္ကို ဖံုးကြယ္၍ ကန့္ကြက္ျခင္း။

5.        ဝိစိကိစၦာနိဝရဏ = သံသယရွိျခင္း၊ ယံုမွားျခင္းျဖင့္ နိဗၺာန္ကို ဖံုးကြယ္၍ ကန့္ကြက္ျခင္း။

In the Buddhist tradition, နိဝရဏတရား นิวรณ์ Five hindrances (panca nivaraṇa or panca nivaraṇani) are identified as mental factors that hinder progress in meditation and in our daily lives. In the Theravada tradition, these factors are identified specifically as obstacles to the ဈာန္ jhanas (stages of concentration) within meditation practice.

ဈာန္ ဟူသည္ကား အာရံုကိုျကံတတ္၊ ကပ္၍ရႈတတ္ေသာ ေျကာင့္၄င္း၊ ကုသိုလ္တရားတို့ကို ပိတ္ပင္တားဆီးေသာ ဆန့္ က်င္ဖက္ နီဝရဏတရားတို့ကို ေလာင္ကြ်မ္းပယ္ဖ်က္တတ္ေသာ ေျကာင့္၄င္း ဈာန္မည္၏။ နီဝရဏတရားတို့ကား ေျခာက္ပါး အာရံုကာမဂုဏ္ကို ခံစားလိုေသာ ကာမစၦနၵနီဝရဏ၊ အမ်က္ ေဒါသတည္းဟူေသာ ဗ်ာပါဒနီဝရဏ၊ ငိုက္မ်ဉ္းထိုင္းမွိုင္းျခင္း ဟူေသာ ထိနမိဒၶနီဝရဏ၊ ပ်ံ့လြင့္ျခင္း၊ ပူပန္ျခင္းဟူေသာ ဥဒၶစၥကုကၠုစၥနီဝရဏ၊ စိတ္နွစ္ခြျဖစ္ျခင္းဟူေသာ ဝိစိကိစၦာနီ ဝရဏဟူ၍ ငါးပါးအျပားရွိသတည္း။

Within the Mahayana tradition, the five hindrances are identified as obstacles to samatha (tranquility) meditation. Contemporary Insight Meditation teachers identify the five hindrances as obstacles to mindfulness meditation.

The five hindrances are: 

1.   Sensory desire (kamacchanda): the particular type of wanting that seeks for happiness through the five senses of sight, sound, smell, taste and physical feeling.

2.   Ill-will (vyapada; also spelled byapada): all kinds of thought related to wanting to reject, feelings of hostility, resentment, hatred and bitterness.

3.   Sloth-torpor (thina-middha): heaviness of body and dullness of mind which drag one down into disabling inertia and thick depression.

4.   Restlessness-worry (uddhacca-kukkucca): the inability to calm the mind.

5.   Doubt (vicikiccha): lack of conviction or trust.

The five hindrances are identified in the major Buddhist traditions of Theravada Buddhism and Mahayana Buddhism, as well in the contemporary Insight Meditation tradition.

But the hindrances are presented differently within these different traditions, depending upon the way each tradition teaches the practice of meditation.

Dhammakaya Meditation Technique is one of the most ancient techniques of meditation in the world. Its simplicity, originality and effectiveness have made the Dhammakaya method among the most popular meditation techniques in Thailand, and its international popularity is growing fast. It is about self-discovery, relaxation and purification of the mind. As such, the practice of this technique is not in conflict with any religion or creed, and is open to anyone to try for themselves. 


When the mind becomes peaceful and stable as the result of successful practice for tranquillity (peace and calm), the mind will overcome the Five Hindrances and reach a state of one-pointedness (ekaggata) also known in Dhammakaya Meditation as the 'standstill of the mind' (i.e. to a state where it is free of thought).  

Ekaggata
is a Buddhist term translated as "one-pointedness" or "concentration". Ekaggatā is defined as a mental factor that has the function to focus on an object.The indication of reaching this stage is that a bright clear sphere will arise spontaneously at the centre of the body. The mind should then be directed continuously at the centre of this sphere helping to transport the mind towards the ekalyânamagga path inside attainment at the level of vipassana arises. There are several ways of จุดโฟกัส / สมาธิ focus the attention at the centre of the body.

 “Dhammakaya” is a Pali word that means a body of enlightenment. The term appears in many places in the Buddhist scriptures of Theravada, Mahayana and Vajrayana (Tibetan) schools. The uniqueness of the Dhammakaya meditation is that it is the only meditation technique in the world that teaches about the centre of the body as the natural home of the human mind as well as the inner gateway to enlightenment. The closer your mind is to its natural home, the closer or deeper you are in the natural state of the mind--Happiness. This kind of happiness is self-sustainable and independent of personal circumstances and external factors.

The Dhammakaya meditation also has moral impact on the mind. It cleanses the mind so that regular mediators become gentler, kinder, and feel increasingly uncomfortable to harm anyone either by speech or action. Their bad habits will decline in degree or are even dropped altogether while their good habits grow in intensity. Anyone who wishes to quit any unpleasant habit or acquires a new good habit for their personal development or career progress should try the Dhammakaya meditation.


Dhammakaya Meditation is based on four principles: three methods of concentration and the Principle of the Center. The three concentration techniques are: 


Meditating on an object of visualization (Kasina)
Recollection of Lord Buddha’s virtues (Buddhanussati),and 
Mindfulness of breathing (Anapanasati).

In Buddhism, kasiṇa refers to a class of basic visual objects of meditation. There are ten kasiṇa mentioned in the Pali Tipitaka.

1.   earth (paṭhavī kasiṇa),
2.   water (āpo kasiṇa),
3.   fire (tejo kasiṇa),
4.   air, wind (vāyo kasiṇa),
5.   blue, green (nīla kasiṇa),
6.   yellow (pīta kasiṇa),
7.   red (lohita kasiṇa),
8.   white (odāta kasiṇa),
9.   enclosed space, hole, aperture (ākāsa kasiṇa),
10.               bright light (āloka kasiṇa).


The following are the principles and practice of Dhammakaya meditation in considerable detail. We noted that Dhammakaya Meditation combines aspects of concentration (Samatha) and wisdom (Vipassana) meditation. These, together with morality (Sila) make up the Noble Eightfold Path.

Dhammakaya Samatha (Concentration) meditation utilizes three of Lord Buddha’s  forty meditation subjects:
visualization of the light sphere (Aloka Kasina),
repetition of a mantra Samma Arahang  to call Lord Buddha’s wisdom and purity into the mind (Buddhanussati), and mindfulness of breathing (Anapanasati).

Samatha (calm) is considered to be a prerequisite of concentration. In terms of meditative practices samatha refers to techniques which assist in the calming of the mind. One of the principal techniques taught by the Buddha for this purpose is mindfulness of breathing (anapanasati).

This practice is also used in order to concentrate the mind. As such, samatha meditation and concentration meditation are often considered synonymous. The goal is the establishing of mindfulness as used in conjunction with insight (vipassana) practices, resulting in wisdom (panna).

Samatha is commonly practiced as a prelude to and in conjunction with wisdom practices.

Through the meditative development of calm abiding, one is able to suppress the obscuring five hindrances. With the suppression of these hindrances, the meditative development of insight yields liberating wisdom.

In the Theravada tradition there are forty objects of meditation. Mindfulness (sati) of breathing (anapana: anapanasati) is the most common samatha practice.

Samatha can include other samadhi practices as well.
Some meditation practices such as contemplation of a kasina object favor the development of samatha, others such as contemplation of the aggregates are conducive to the development of vipassana, while others such as mindfulness of breathing are classically used for developing both mental qualities.

The fourth principle at the heart of Dhammakaya is concentration at the center of the center.

By bringing the mind to rest at the center of the body, the meditator can see his or her own Dhamma sphere which reveals the consequences of moral behavior.

Continually focusing at the center of the center, the practitioner can proceed through ever purer body-minds all the way to Nirvana.



And the Principle of the Center specifies that these three methods of concentration are all applied simultaneously at the center of the body as follows:

Position 1: The Nostril Aperture
Position 2: The Eye Socket
Position 3: The Center of the Head
Position 4: The Palate Terminus
Position 5: The Throat Aperture
Position 6: The Center of the Body (Navel Level)
Position 7: The Center of the Body and the Proper Position for Meditation (Two Inches above Navel Level).


Basic Meditation Technique for Inner Peace
1.   Start by adjusting your sitting position. If you sit on the floor, sit cross-legged, right leg over the left, right hand over the left hand, palms up, your right index finger gently touching your left thumb. Place both hands on your lap comfortably, your head and back erect. This sitting position is called Peace Position. If you feel uncomfortable in this position, you may sit on a chair or sofa. Adjust your position until you feel completely comfortable and relaxation so that the blood will circulate freely and you breathe naturally with peacefully.

Gently close your eyes comfortably, as if you were going to sleep. Do not squeeze your eyelids and do not shut them forcefully. Close them slightly. Do not close them tightly. Sit with a smile on your face.
 

Next, take a deep breath. Inhale and exhale a few times. Breathe in deeply until you feel the air pass through your lungs and reach the middle of your abdomen. Imagine that each cell in your body is fully taking in the feeling of happiness and joyfulness. Then slowly breathe out through your nostrils. Breathe out all your worries, stress, tension and negative feelings. Take a moment to let go of all the responsibilities related to work, loved ones, family, study, and everything else.

2.   Let everything go. Let your mind be joyful, relaxed and free from all worry. Then, breathe normally. Relax every muscle in your body. Start to relax from the top of your head down to your forehead. Relax the muscles in your face, eyelids, neck, and muscles in your shoulders, arms, and down to the tips of your fingers. Relax the muscles of your back, your chest, your legs, and all the way down to the tip of your toes. Let every part of your body relax. Don't let any part of your body contract, tighten, or become tense.

Continue to relax until you feel that every part of your body, every cell in your body, is completely relaxed. You are now in a state of complete relaxation whereby you can feel an emptiness, transparency, and lightness. Now, make your mind joyful, cheerful, clear, pure, and bright. Shun  and control over your อัตตา ego (atman  or atta or permanent "Self"). Stop your EGO (หยุดอัตตาของคุณ).

ละเว้น: Lobha (โลภะ), Dosa (โทสะ), and Moha (โมหะ)
หยุด Lobha ของคุณ (โลภะ) Dosa (โทสะ) และ Moha (โมหะ)
Release bad things . Empty your mind.

Make your mind clear, pure, and free from all thoughts. Imagine you are sitting alone in a vast, open space. One that is full of freedom and peacefulness as if you never had any attachment in life, never had any problems and never knew anyone before.





3.   Now, bring your mind to focus to the center of your body, in the middle of your abdomen, two finger widths above the navel level. For new practitioners, do not worry too much about the exact point of center of the body. Simply maintain your mind, softly and gently, in the middle of your abdomen. The way that you focus your mind at the center of the body is by comparing it to the lightness and gentleness of a bird's feather floating down from the sky and touching the calm surface of the water.

Imagine the soft touch of a bird's feather when it touches the surface of the water. Focus your mind at the centre of the body with this feeling. Maintain the feeling of relaxation in your body and mind continuously, keeping your mind focused at the center of the body (in the middle of your abdomen). After you have found the starting point to focus your mind, softly imagine a neutral object of choice so that the mind can have something to focus on and not wander. You could imagine a shining sun, of any size that you like, bright like the midday sun but clean and soothing as the moonlight on a full moon night. You can choose any object that you like as long as it makes you feel calm, pure, and content. Some people visualize candle flames, water, crystal balls, the moon, the sun etc.

To imagine an object in the center of your body, you need to know the method. Slowly imagine the object with ease. Relax. Keep it simple. As simple as it would be to think of a football, a car, a house, or anything that is familiar. Do not force your mind to think of the object to a point that it makes you feel tense. No not use too much effort or stare at it, as staring will deter you from allowing better feelings from arising. Gently imagine the object, and relax. It does not matter if it is not clear. Be satisfied with however clear it is. And maintain your mind calmly, let it stop and be still. Think of that mental object continuously. Do not let your mind wander. If you do think of something else, you can maintain your stillness of mind and concentration by reciting a short, soothing phrase.

Recite the word phrase of choice in your mind gently, as if the soft sounds were coming from the center of the mental object in the middle of your abdomen. Recite the word phrase of choice continuously, while thinking of the bright mental object, gently and comfortably floating in your center. Focus your mind to be still at the center of the bright mental object within. Maintain your mind on the object and phrase in the center of your body continuously, softly, and comfortably until your mind is still.

4.   Once your mind is completely still, it will drop the word phrase by itself, as if you are forgetting to recite it (if you simply do not want to recite it anymore, then that is ok). You may just want to be still without your mind wandering or thinking about anything. There should only the picture of the mental object appearing clearly at the center of your body. If you feel like this, you do not have to go back to reciting the word phrase again. Let your awareness maintain the vision of the mental object gently and comfortably. Only do this from this point onwards, with a still mind, softly, gently, constantly, and continuously. Do not do anything beyond this.

If you see or feel any experiences at the center of your body which are different from the mental object that you originally started imagining, do not be excited. Let your mind be neutral to it. Observe the experiences that occur with a calm mind and remember to relax. Be neutral. Your mind will be completely focused, pure, still, and feel like nothingness. This moment is very important so do not neglect it, pay attention because all new experiences from within will progress even further to what you are not expecting. Your role at this time is to be an observer, not a director. Just keep observing and just relax. Do not think of anything. Do all of this, only this, and that is all.

If you do this correctly, meditation will feel easy and comfortable. Your mind will then become still, easily and effortlessly. Do not analyze and comment on your inner experiences as they are happening. Your mind will not be calm and all your good experiences will go away. Instead, adhere only to these instructions. Eventually, your mind will be refined and completely focused at the centre of the body. The mind will deepen, entering into clarity, purity, brightness, true happiness, and true inner knowledge. This is inner wisdom. Finally, you will behold the universal truth which lies within you and everyone else in this world. So enjoy your meditation one step at a time.
Meditation brings our mind back to its original pure state. Furnish others with the ability to incorporate attained happiness into their daily lives. The lives they lead will prove beneficial for themselves and others.

Spreading the เมตตา (pure LOVE)
5.   The sharing of loving kindness is something we can do every day, both before and after daily meditation. A brief period before meditating softens and broadens our minds. The sharing of loving kindness as such helps improve our meditation experience. Sharing loving kindness after meditation spreads the purity of our meditated minds through us first, then subsequently towards others.
 

The benefits of sharing loving kindness everyday include radiating a happy feeling when we are awake and asleep. If we have dreams, they will be sweet and meaningful. We will rid ourselves of anger and we will be positive thinkers. Most importantly, it will greatly help to improve our meditation.

We can share เมตตา (pure loving kindness) simply by doing the following:
  • Before ending our meditation session, once our minds come to a standstill and are hence filled with happiness, we can actually share loving-kindness, good wishes, and peace with all other people in the world. We can start by focusing our stilled mind at the center of our body where we feel true love and good wishes for everyone condensing these feelings into a bright sphere. Without any effort, imagine that this sphere of love and good wishes is expanding in all directions from your body's center towards all beings. Wish everyone freedom from suffering and the attainment of extreme happiness.

  • Feel the expansion of our bright sphere all around us, spreading out towards the people in our surroundings regardless of whether they are near or far. Expand our minds continually outwards to cover our room, then our building, then our town, then our country, then our continent, then our planet. Feel unlimited love and kindness towards all people of the world, irrespective of their nationalities, religions, each of everyone and

  • Let our minds connect with all other minds. Wish them happiness; wish every country prosperity and hope, that the world will be filled with only good people who bring true happiness to humankind. Let the purity of our still minds expand from the center of our body towards other people of the world who are suffering as a result of war and conflict. Wish that everyone will stop taking advantage of one another in the name of greed, anger and ignorance.

  • The purity of our minds during meditation radiates silently outwards into the atmosphere. This purity cleanses the defilements and darkness from our minds and others minds, cleaning them so that we can live with the right view and in the right direction. This direction is towards happiness, peace, and virtue. Eventually, we will change the world and bring it true peace through the limitless powers of meditation. 
  •  Purification of mind as understood in the Buddha's teaching is the sustained endeavor to cleanse the mind of defilements, those dark unwholesome mental forces which run beneath the surface stream of consciousness vitiating our thinking, values, attitudes, and actions.


Before Starting the Meditation steps:


1.   Must refuge in the three refuges (Triple Gem, Three Jewels) Buddha, Dhamma / Dharma, and Sangha.
2.   Must abstain from three poisons (กิเลส Kilesas / torments of the mind), greed (lobha โลภะ), aversion/hatred (dosa โทสะ) , and delusion (moha โมหะ).
3.   Assuming "relax and peace position" meditation posture on floor, chair, or sofa
4.   Relaxation of body and mind
5.   Consistent gentle "Interiorization" (to make interior; especially : to make a part of one's own inner being or mental structure) of awareness and concentration to a comfortable point in central area of the body; Can then use a mental object in the center
6.   Complete stillness and equanimity of mind in the center. Observation from this moment onward with neutrality and detachment to whatever may arise or occur; If thoughts arise, one can combine mental object with a word phrase (i.e. "Clear and Bright")
7.   Before getting up: Spread the LOVE to all beings
8.   Recite a prepared resolution or prayer
9.   Mind free from emotion, expectation, worry, thoughts, tension, and excitement
10.               Before sitting down, prepare for the purpose of making the mind calm, pure, and content so that when meditating, feelings of discontentment, inconsistency or boredom with the meditation object will be avoided.

เขาเป็นพระสงฆ์ที่มีชื่อเสียงมากในประเทศไทย เรามีความเคารพเขามาก
จากนั้นเขาเป็นหนึ่งในผู้ที่มีชื่อเสียงชาวพุทธนิกายเถรวาทพระสงฆ์ในโลก
เขาเป็นหนึ่งในอาจารย์ทำสมาธิที่มีชื่อเสียงในประเทศไทยและทั่วโลก
พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) เป็นพระภิกษุชาวไทยในพุทธศาสนานิกายเถรวาทฝ่ายมหานิกาย ดำรงสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ฝ่ายวิปัสสนาธุระ มีนามตามสัญญาบัตรประกอบพัดยศสมณศักดิ์ว่า พระมงคลเทพมุนี ศรีรัตนปฏิบัติ สมาธิวัตรสุนทร มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี ในบรรดาหมู่ผู้ศรัทธานับถือมักเรียกท่านด้วยชื่อ "หลวงพ่อวัดปากน้ำ" เนื่องจากท่านดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัดปากน้ำภาษีเจริญ อำเภอภาษีเจริญ จังหวัดธนบุรี (ปัจจุบันคือ เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร) ท่านเป็นผู้มีชื่อเสียงในฐานะพระวิปัสสนาจารย์ผู้เป็นต้นกำเนิดของการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนววิชชาธรรมกาย ซึ่งนับเป็นวิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานแบบหนึ่งที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในประเทศไทย
พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) เดิมชื่อ สด มีแก้วน้อย เกิดเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม .. 2427 ตรงกับวันศุกร์ แรม 6 ค่ำ เดือน 11 ปีวอก ฉศก จุลศักราช 1246 ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว บ้านสองพี่น้อง ตำบลสองพี่น้อง อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรคนที่สองของนายเงินและนางสุดใจ มีแก้วน้อย มีพี่น้องร่วมมารดาบิดา 5 คน
เริ่มเรียนหนังสือกับพระภิกษุผู้เป็นน้าชาย วัดสองพี่น้อง แล้วมาอยู่ วัดบางปลา อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม ในความปกครองของพระอาจารย์ทรัพย์ ปรากฏว่าเป็นผู้สามารถเรียน-อ่านภาษาขอมได้อย่างคล่องแคล่ว เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้วได้กลับไปช่วยบิดามารดาประกอบอาชีพค้าขาย ด้วยความวิริยะอุตสาหะเพื่อสร้างฐานะให้มั่นคง
เมื่อท่านอายุได้ 14 ปีโยมบิดาได้ถึงแก่กรรมลงท่านจึงรับภาระดูแลการค้าแทน ท่านฉลาดในการปกครอง ลูกเรือต่างก็รักนับถือท่านและเนื่องจากท่านเป็นคนขยันขันแข็งในการทำงาน อาชีพการค้าจึงเจริญขึ้นโดยลำดับ จนปรากฏในยุคนั้นว่า เป็นผู้มีฐานะดีคนหนึ่ง วันหนึ่งเมื่อท่านนำเรือเปล่ากลับบ้านพร้อมเงินรายได้จากการขายข้าวผ่านลัด คลองเล็กซึ่งชาวบ้านเรียกว่า คลองบางอีแท่น มีโจรผู้ร้ายชุกชุมท่านนึกถึงความตายขึ้นมา และได้อธิษฐานจิตในขณะนั้นว่า "ขอเราอย่าได้ตายเสียก่อนเลย ขอให้ได้บวชเสียก่อน เมื่อบวชแล้วจะไม่ลาสิกขา ขอบวชไปจนตลอดชีวิต"
การหาเงินเลี้ยงชีพนั้นลำบาก บิดาของเราก็หามาอย่างนี้ ต่างไม่มีเวลาว่างกันทั้งนั้น ถ้าใครไม่รีบหาให้มั่งมี ก็เป็นคนชั้นต่ำ ไม่มีใครนับหน้าถือตา เข้าหมู่เพื่อนบ้านก็อับอาย ไม่เทียมหน้าเขา บุรพชนต้นสกุลก็ทำมาอย่างนี้เหมือนกัน จนถึงบิดาเราและตัวเราในบัดนี้ ก็คงทำอยู่อย่างนี้ ก็บัดนี้บุรพชนทั้งหลายได้ตายไปหมดแล้ว แม้เราก็จักตายเหมือนกัน เราจะมัวแสวงหาทรัพย์อยู่ทำไม ตายแล้วเอาไปไม่ได้ บวชดีกว่า ท่านบอกว่าเริ่มอธิษฐานมาตั้งแต่อายุ 19 ปี หลวงพ่อวัดปากน้ำท่านเล่าต่อไปว่า เมื่อตกลงใจบวชไม่สึกแล้ว จิตคิดเป็นห่วงมารดาเกิดขึ้น จึงขะมักเขม้นทำงานสะสมทรัพย์ เพื่อให้มารดาเอาไว้ใช้เลี้ยงชีพไปจนตลอดชีวิต
เดือนกรกฎาคม 2449 ขณะมีอายุย่างเข้า 22 ปี ท่านได้บรรพชาอุปสมบท วัดสองพี่น้อง อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี มีฉายาว่า สด จนฺทสโร พระอาจารย์ดี วัดประตูสาร อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูวินยานุโยค (เหนี่ยง อินฺทโชโต) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระอาจารย์โหน่ง อินฺทสุวณฺโณ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ คู่สวดทั้งสองรูปอยู่วัดเดียวกัน คือ วัดสองพี่น้อง ในการเรียนด้านคันถธุระในพรรรษาแรก ท่านสงสัยอยากรู้คำแปลคำว่า อวิชฺชาปจฺจยา ซึ่งไม่มีใครทราบ ท่านจึงเกิดความดำริที่จะไปเรียนคันถธุระต่อที่กรุงเทพฯ
เมื่ออุปสมบทแล้ว ท่านจึงเริ่มปฏิบัติสมถะ-วิปัสสนากับพระอนุสาวนาจารย์นับแต่วันบวช เมื่อบวชแล้วพอรุ่งขึ้นอีกวัน หลวงพ่อก็เริ่มลงมือปฏิบัติพระกรรมฐานต่อกับพระอาจารย์เนียม วัดน้อย อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี ได้จำพรรษาอยู่วัดสองพี่น้อง 1 พรรษาเมื่อออกพรรษาที่วัดสองพี่น้องแล้ว ท่านจึงเดินทางมาจำพรรษา วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เพื่อศึกษาด้านคันถธุระต่อ ในสมัยนั้นนิยมใช้หนังสือขอมที่จารลงในใบลาน
ขณะที่ท่านเรียนทางด้านคันถธุระอยู่นั้น เมื่อถึงวันพระขึ้น 8 ค่ำ และขึ้น 15 ค่ำ ท่านก็มักไปแสวงหาครูสอนฝ่ายปฏิบัติสมถะ-วิปัสสนาอยู่เสมอๆ โดยการศึกษากับพระอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิในสำนักต่างๆ ท่านได้ไปศึกษากับท่านเจ้าคุณสังวรานุวงษ์ (เอี่ยม) วัดราชสิทธาราม (วัดพลับ)} ท่านพระครูญาณวิรัติ (โป๊) วัดพระเชตุพน} พระอาจารย์สิงห์ วัดละครทำ จนได้ผลการปฏิบัติเป็นที่พอใจของพระอาจารย์ เมื่อได้ศึกษาภาวนาวีธีจนมีความรู้ความเข้าใจ ทั้งจากพระอาจารย์ทั้งจากพระไตรปิฎกและคัมภีร์ต่างๆ มีมูลกัจจายน์ ธรรมบททีปนี และสารสังคหะ เป็นต้น ท่านจึงแสวงหาที่หลีกเร้น มีความวิเวกเป็นสัปปายะต่อการปฏิบัติธรรม ฉะนั้น ในพรรษาที่ 12 จึงได้กราบลาท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (เข้ม ธมฺมสโร) อธิบดีสงฆ์วัดพระเชตุพนฯ เพื่อไปจำพรรษา วัดโบสถ์บน ตำบลบางคูเวียง อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี
ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10 ปี .. 2460 เมื่อพระภิกษุสดกลับจากบิณฑบาตแล้ว ท่านก็เข้าไปนั่งสมาธิเจริญภาวนาในพระอุโบสถ ขณะนั้นเวลาประมาณ 8 โมงเศษๆ ท่านก็เริ่มทำความเพียร โดยตั้งใจว่าหากยังไม่ได้ยินเสียงกลองเพล จะไม่ยอมลุกจากที่ เมื่อตั้งใจดังนั้นแล้ว ก็หลับตาภาวนา "สัมมา อะระหัง" ไปเรื่อยๆ จนกระทั่งความปวดเมื่อย และอาการเหน็บชาค่อยๆ เพิ่มทีละน้อยๆ และมากขึ้นจนมีความรู้สึกว่า กระดูกทุกชิ้นแทบจะระเบิดหลุดออกมาเป็นชิ้นๆ จนเกือบจะหมดความอดทน ความกระวนกระวายใจก็ตามมา
"เอ...แต่ก่อนเราไม่เคยรู้สึกเช่นนี้เลย พอตั้งสัจจะลงไปว่า ถ้ากลองเพลไม่ดังจะไม่ลุกจากที่ เหตุใดมันจึงเพิ่มความกระวนกระวายใจมากมายอย่างนี้ ผิดกว่าครั้งก่อนๆ ที่นั่งภาวนา เมื่อไรหนอ กลองเพลจึงจะดังสักที" คิดไปจิตก็ยิ่งแกว่งและซัดส่ายมากขึ้น จนเกือบจะเลิกนั่งหลายครั้ง แต่เมื่อได้ ตั้งสัจจะไปแล้วท่านก็ทนนั่งต่อไป ในที่สุดใจก็ค่อยๆ สงบลงทีละน้อย แล้วรวมหยุดเป็นจุดเดียวกัน เห็นเป็นดวงใสบริสุทธิ์ขนาดเท่าฟองไข่แดงของไก่ ในใจชุ่มชื่นเบิกบานอย่างบอกไม่ถูก ความปวดเมื่อยหาย ไปไหนไม่ทราบ ในเวลาเดียวกันนั้นเสียงกลองเพลก็ดังขึ้น
วันนั้นท่านมีความสุขตลอดทั้งวัน ดวงธรรมขั้นต้นซึ่งเป็นดวงใสก็ยังเห็นติดอยู่ตรงศูนย์กลางกายตลอดเวลา ในช่วงเย็น หลังจากได้ร่วมลงฟังพระปาฏิโมกข์กับเพื่อนภิกษุ ท่านได้เข้าไปในพระอุโบสถแล้วตั้งสัตยาธิษฐานว่า "แม้เลือดเนื้อจะ แห้งเหือดหายไป เหลือแต่หนัง เอ็น กระดูก ก็ตามที ถ้านั่งลงไปแล้ว ไม่บรรลุธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงเห็น จะไม่ยอมลุกขึ้นจากที่จนตลอดชีวิต" เมื่อ ตั้งจิตอธิษฐานเสร็จ จึงเริ่มนั่งและตั้งจิตอ้อนวอนแด่พระพุทธเจ้าว่า

เมื่อท่านตั้งความปรารถนาแล้ว ก็เริ่มนั่งขัดสมาธิเข้าที่ภาวนา พอดีนึกถึงมดขี้ที่อยู่ในระหว่างช่องแผ่นหินซึ่งกำลังไต่ไปมา จึงหยิบขวดน้ำมันก๊าด เอานิ้วมือจุ่ม เพื่อจะเขียนวงให้รอบตัวกันมดรบกวน แต่พอจรดนิ้วที่พื้นหินยังไม่ถึงครึ่งวง ก็เกิดความคิดขึ้นมาว่า ชีวิตสละได้ แต่ทำไมยังกลัวมดขี้นอยู่เล่า นึกละอายตัวเอง จึงวางขวดน้ำมันลง แล้วนั่งเข้าที่ได้ประมาณครึ่งหรือค่อนคืน เมื่อใจหยุดเป็นจุดเดียวกัน ก็มองเห็นดวงใสบริสุทธิ์ขนาดเท่าฟองไข่แดงของไก่ ซึ่งยังติดอยู่ที่ศูนย์กลางกายจากเมื่อเพล ยิ่งมองยิ่งใสสว่างมากขึ้น และขยายใหญ่ขนาดเท่าดวงอาทิตย์ ดวงใสยังคงสว่างอยู่อย่างนั้น โดยที่ท่านก็ไม่ทราบว่าจะทำอย่างไรต่อไป เพราะทุกสำนักที่ท่านได้ศึกษามาไม่เคยมีประสบการณ์เช่นนี้มาก่อน

ขณะที่ใจหยุดนิ่งอยู่ตรงนั้น ก็มีเสียงหนึ่งดังขึ้นมาจากจุดกลางดวงนั้นว่า "มัชฌิมาปฏิปทา" แต่ขณะที่เสียงนั้นดังแผ่วขึ้นมาในความรู้สึก ก็เห็นจุดเล็กๆ เรืองแสง สว่างวาบขึ้นมาจากกลางดวงนั้น เสมือนจุดศูนย์กลางของวงกลม ความสว่างของจุดนั้นสว่างกว่าดวงกลมรอบๆ ท่านมองเรื่อยไป พลางคิดในใจว่า นี่กระมังทางสายกลาง จุดเล็กที่เราเพิ่งจะเห็นเดี๋ยวนี้อยู่กึ่งกลางพอดี ลองมองดูซิจะเกิดอะไรขึ้น

จุดนั้นค่อยๆ ขยายขึ้นและโตเท่ากับดวงเดิม ดวงเก่าหายไป ท่านมองไปเรื่อยๆ ก็เห็นดวงใหม่ลอยขึ้นมาแทนที่ เหมือนน้ำพุที่พุ่งขึ้นมาแทนที่กันนั่นแหละ ต่างแต่ใสยิ่งขึ้นกว่าดวงเดิม ในที่สุดก็ เห็นกายต่างๆ ผุดซ้อนกันขึ้นมาจนถึงธรรมกาย เป็นพระปฏิมากร เกตุดอกบัวตูม ใสบริสุทธิ์ยิ่งกว่า พระพุทธรูปบูชาองค์ใด เสียงพระธรรมกายกังวานขึ้นมาในความรู้สึกว่า "ถูกต้องแล้ว" เท่านั้นแหละ ความปีติสุขก็เกิดขึ้นอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน ท่านถึงกับรำพึงออกมาเบาๆ ว่า


ท่านยังคงนั่งเจริญภาวนาทบทวนอย่างนี้ต่อไปอีกประมาณ 30 นาที ก็เกิดภาพในสมาธิ เป็นภาพของวัดบางปลาปรากฏขึ้น ความรู้สึกขณะนั้นเหมือนตัวท่านอยู่ที่วัดนั้น ทำให้คิดว่าธรรมที่รู้เห็นได้ยากนั้น ที่วัดบางปลาจะต้องมีผู้ที่สามารถบรรลุธรรมได้แน่นอน ภาพของวัดบางปลาจึงปรากฏขึ้นในสมาธิ

นับแต่นั้นเป็นต้นมา ท่านได้ทุ่มเทชีวิตให้กับการปฏิบัติธรรมเจริญสมาธิภาวนาอย่างเต็มที่ เพื่อค้นคว้าหาที่สุดแห่งธรรม ยิ่งค้นก็ยิ่งลึกซึ้งขึ้นไปทุกที ท่านปฏิบัติอยู่อย่างนี้อีกประมาณเดือนเศษ จนออกพรรษา เมื่อรับกฐินแล้ว ก็ลาเจ้าอาวาสวัดบางคูเวียงไปพักอยู่ที่วัดบางปลาม้า เพื่อไปสอนธรรมที่ท่านได้รู้ได้เห็นแล้ว ท่านสอนอยู่ประมาณ 4 เดือน มีพระภิกษุที่สามารถปฏิบัติธรรมตามอย่างท่านได้ 3 รูป คือ พระภิกษุสังวาลย์ พระภิกษุแบน และพระภิกษุอ่วม รวมทั้งคฤหัสถ์อีก 4 คน

จากนั้น พรรษาที่ 13 ท่านได้พาพระภิกษุสังวาลย์ไปจำพรรษาที่วัดสองพี่น้อง ที่วัดนี้มี พระภิกษุได้เห็นธรรมอีก 1 รูป คือ พระภิกษุหมก (ภิกษุรูปนี้ เมื่อมาจำพรรษา วัดปากน้ำ หลวงพ่อได้ส่งไปสอนธรรมแก่ท่านเจ้าคุณพระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท) วัดบรมนิวาส จนได้บรรลุธรรมกาย) หลังจากนั้น ท่านได้เดินทางไปพักที่วัดประตูสาร จังหวัด สุพรรณบุรี ซึ่งเป็นวัดของพระอุปัชฌาย์ของท่าน (ขณะนั้นได้มรณภาพแล้ว) มีประชาชนมาขอให้ท่านแสดงธรรมหลายครั้ง ท่านขัดไม่ได้ จึงยอมแสดงพระธรรมเทศนา เนื่องจากท่านมีความสามารถในการเทศน์สอน จึงเป็นที่พอใจแก่ประชาชนมาก ต่อมามีผู้มาขอร้องท่านให้แสดงธรรมอีกเป็นครั้งที่สอง ท่านรู้ว่าถ้าเทศน์อีกจะทำให้เจ้าอาวาสไม่พอใจ แต่ท่านต้องการจะสงเคราะห์ญาติโยมจึงตัดสินใจแสดงธรรมอีก เมื่อท่านแสดงธรรมจบ ท่านก็เข้าไปกราบลาเจ้าอาวาส แล้วเดินทางกลับทันที เพื่อไม่ให้เกิดการกระทบกระเทือน โดยท่านให้เหตุผลว่าจะพาพระไปอยู่กรุงเทพฯ ท่านพำนักอยู่ที่วัดนี้เป็นระยะเวลารวม 4 เดือน

เมื่อออกจากวัดประตูสาร ท่านได้ไปรับพระภิกษุหมก พระภิกษุปลด (พระพุทธิวงศาจารย์ วัดเบญจมบพิตรฯ) พระภิกษุพล (พระครูโสภณราชวรวิหาร วัดเบญจมบพิตรฯ (ลาสิกขาบทแล้ว)) และพระภิกษุฮั้ว วัดป่าพฤกษ์ ที่วัดสองพี่น้อง กลับลงมากรุงเทพฯ ไปอยู่ที่สำนักเรียนวัดพระเชตุพนฯ เพื่อศึกษาพระปริยัติธรรมต่อไป

ในสมัยนั้น หลวงพ่อวัดปากน้ำฯ ต้องเผชิญกับความไม่เข้าใจของสังคมและพระเถรานุเถระในวงการพระพุทธศาสนา อย่างต่อเนื่อง เกี่ยวกับการแสดงอิทธิฤทธิ์ ปาฏิหาริย์และการกล่าวอ้างถึงคำว่า "ธรรมกาย" อยู่มิได้ขาด ซึ่งคำว่า "ธรรมกาย" นั้น มีหลักฐานปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎก หลักศิลาจารึก และคัมภีร์ต่างๆ มาตั้งแต่สมัยโบราณมาก่อนแล้ว

แม้ว่าท่านเป็นภิกษุผู้รักชีวิตอิสระและสันโดษ ชอบออกธุดงค์แสวงหาสถานที่วิเวกเพื่อปฏิบัติธรรม แต่ท่านก็ไม่เคยนิ่งดูดายต่อส่วนรวม ไม่ว่าท่านจะไปพักอยู่ที่ใด ท่านมักจะทำประโยชน์ให้เกิดขึ้นในที่แห่งนั้นเสมอ กอปรกับท่านเป็นผู้ที่มีความสามารถในหลายๆ ด้าน จึงเป็นเหตุให้พระเถระผู้ใหญ่ในวงการคณะสงฆ์ คือ ท่านเจ้าคุณพระธรรมปิฎก (เผื่อน ติสฺสทตฺตเถร) วัดพระเชตุพนฯ พระอาจารย์ของท่าน ซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งเจ้าคณะอำเภอภาษีเจริญ จังหวัดธนบุรี ได้เล็งเห็นถึงคุณสมบัติที่ดีของท่าน ท่านเจ้าคุณพระธรรมปิฎกเห็นว่า ท่านสามารถทำประโยชน์ให้กับพระศาสนาได้อีกมาก จึงมอบหมายให้ท่านย้ายไปจำพรรษาที่วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ เพื่อเป็นเจ้าอาวาส โดยในช่วงแรกให้เป็นผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสไปก่อน เมื่อท่านรับคำแล้ว จึงได้แต่งตั้งให้เป็นพระครูสมุห์ฐานานุกรมของพระศากยยุติยวงศ์

เมื่อถึงวันครบกำหนด ท่านเดินทางจากวัดพระเชตุพนฯ โดยเรือยนต์หลวงที่กรมการศาสนาจัดถวาย เพื่อเป็นเกียรติแก่พระอารามหลวง มีพระเถรานุเถระจากวัดพระเชตุพนฯ เดินทางมาส่ง และมีพระภิกษุติดตามท่านมาด้วย 4 รูป ทางด้านวัดปากน้ำ มีพระเถระผู้ใหญ่ในอำเภอนั้น พร้อมทั้งญาติโยมจำนวนมากมารอต้อนรับคณะของท่าน

เมื่อมาถึงวัดปากน้ำ ท่านพบว่าวัดอยู่ในสภาพกึ่งวัดร้าง ภายในวัดมีสภาพทรุดโทรม ในสมัยนั้น ที่นี่เป็นสวนพลู สวนหมาก สวนมะพร้าว สวนเงาะ มีศาลาที่เก่ามาก มีโรงครัวเล็กๆ กุฏิก็มีไม่กี่หลัง เป็นกุฏิเล็กๆ ยกพื้น ปลูกด้วยไม้สัก พักได้รูปเดียว อยู่ตามร่องสวน พระภิกษุที่อยู่ก่อนมีจำนวน 13 รูป มักย่อหย่อนทั้งด้านปริยัติและปฏิบัติ ทำให้ท่านต้องพบอุปสรรคที่ไม่คาดคิดมาก่อนตั้งแต่วันแรกที่มาถึง แต่ท่านก็ไม่ได้ย่อท้อต่ออุปสรรคที่เกิดขึ้นแม้แต่น้อย ในทางตรงกันข้าม ท่านกลับมีความคิดที่จะฟื้นฟูวัดปากน้ำให้เจริญรุ่งเรืองยิ่งขึ้นอีกด้วย

เมื่อท่านมาเป็นเจ้าอาวาสวัดปากน้ำใหม่ๆ ท่านกล่าวว่า "สร้างคนนั้นสร้างยาก เรื่องเสนาสนะไม่ยาก ใครมีเงินก็สร้างได้ แต่สิ่งสำคัญต้องสร้างคนก่อน" ดังนั้น ในเบื้องต้นท่านมุ่งไปที่ความประพฤติของพระภิกษุ สามเณรในวัด ท่านต้องการให้ทุกรูปมีข้อวัตรปฏิบัติที่ดี ประพฤติตนตามพระธรรมวินัย จึงเรียกประชุมพระภิกษุ สามเณรที่อยู่มาก่อนทั้งหมดและให้โอวาทว่า


เจ้าคณะอำเภอส่งมาเพื่อให้รักษาวัดและปกครองตักเตือนว่ากล่าวผู้อยู่วัด โดยพระธรรมวินัย อันจะทำให้วัดเจริญได้ต้องอาศัยความพร้อมเพรียง และเห็นอกเห็นใจกัน จึงจะทำความเจริญได้ ถิ่นนี้ไม่คุ้นเคยกับใครเลย มาอยู่นี้เท่ากับถูกปล่อยเกาะ โดยไม่รู้ว่าจะหันหน้าไปพึ่งใคร เพราะต่างไม่รู้จักกัน แต่ก็มั่นใจว่า ธรรมที่พวกเราปฏิบัติตรงต่อพระพุทธโอวาท จะประกาศความราบรื่นและรุ่งเรืองให้แก่ผู้มีความประพฤติเป็นสัมมาปฏิบัติ ธรรมวินัยเหล่านั้นจะกำจัดอธรรมให้สูญสิ้นไป
พวกเราบวชกันมาคนละมากๆ ปี ปฏิบัติธรรมเข้าขั้นไหน มีพระปาฏิโมกข์เรียบร้อยอย่างไร ทุกคนทราบความจริงของตนได้ ถ้าเป็นไปตามแนวพระธรรมวินัยก็น่าสรรเสริญ ถ้าผิดพระธรรมวินัยก็น่าเศร้าใจ เพราะตนเองก็ติเตียนตนเอง
ได้เคยพบมาบ้างแม้บวชตั้งนานนับเป็นสิบๆ ปี ก็ไม่มีภูมิจะสอนผู้อื่น จะเป็นที่พึ่งของศาสนาก็ไม่ได้ ได้แต่อาศัยศาสนาอย่างเดียว ไม่ทำประโยชน์ให้เกิดแก่ตนและแก่ท่าน ซ้ำร้ายยังทำให้พระศาสนาเศร้าหมองอีกด้วย บวชอยู่อย่างนี้เหมือนตัวเสฉวน จะได้ประโยชน์อะไรในการบวช ในการอยู่วัด
ฉันมาอยู่วัดปากน้ำ จะพยายามตั้งใจประพฤติให้เป็นไปตามแนวพระธรรมวินัย พวกพระเก่าๆ จะร่วมก็ได้ หรือว่าจะไม่ร่วมด้วยก็แล้วแต่อัธยาศัย ฉันจะไม่รบกวนด้วยอาการใดๆ เพราะถือว่าทุกคนรู้สึกผิดชอบด้วยตนเองดีแล้ว ถ้าไม่ร่วมใจก็ขออย่าได้ขัดขวาง ฉันก็จะไม่ขัดขวางผู้ไม่ร่วมมือเหมือนกัน ต่างคนต่างอยู่ แต่ต้องช่วยกันรักษาระเบียบของวัด คนจะเข้าจะออกต้องบอกให้รู้ ที่แล้วมาไม่เกี่ยวข้อง เพราะยังไม่อยู่ในหน้าที่ จะพยายามรักษาเมื่ออยู่ในหน้าที่
 

1.   .. 2464 เป็นพระครูสัญญาบัตรที่ พระครูสมณธรรมสมาทาน

2.   .. 2492 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะสามัญที่ พระภาวนาโกศลเถระ ถือพัดยอดพื้นขาวอันเป็นตำแหน่งวิปัสสนาธุระ

3.   .. 2494 ได้รับพระราชทานพัดยศเทียบเปรียญ

4.   .. 2498 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นราชที่ พระมงคลราชมุนี

5.   .. 2500 ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นเทพที่ พระมงคลเทพมุนี



ลวงพ่อวัดปากน้ำฯ ได้บอกแก่ศิษยานุศิษย์เมื่ออายุได้ 70 ปี ว่าอีก 5 ปีข้างหน้าท่านจะละสังขาร ต่อมาอีกราว 3 ปี ท่านเริ่มอาพาธเรื่อยมาอย่างต่อเนื่องกว่า 2 ปีเศษ แม้ว่าจะอาพาธ ท่านก็มิได้แสดงอาการรันทดใจใดๆ เลย ท่านยังคงต้อนรับแขกด้วยอาการยิ้มแย้มเสมอ เวลาจะลุกจะนั่งท่านไม่พอใจให้ใครไปช่วยเหลือ ท่านพอใจทำเองผู้อื่นคอยตามเพื่อช่วยเหลือเวลาท่านเซไปเท่านั้น จนกระทั่งเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ .. 2502 เวลา 15.05 . พระเดชพระคุณหลวงพ่อวัดปากน้ำฯ ได้ถึงแก่มรณภาพด้วยอาการอันสงบ ตึกมงคลจันทสร วัดปากน้ำภาษีเจริญ สิริอายุได้ 74 ปี 3 เดือน 24 วัน นับอายุพรรษาได้ 53 พรรษา

http://www.dhammakaya.org/%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%9E%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A2%E0%B9%8C/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B8%A1%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B8%B5-%28%E0%B8%AA%E0%B8%94-%E0%B8%88%E0%B8%99%E0%B8%BA%E0%B8%97%E0%B8%AA%E0%B9%82%E0%B8%A3%29






http://www.freemeditationseattle.com/history.php
http://buddhawasborn623bc.blogspot.com/p/normal-0-false-false-false-en-us-x-none_43.html